ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมดูลค่าจ้าง/เงินเดือน"
บรรทัดที่ 391: | บรรทัดที่ 391: | ||
== เมนูย่อย "ใบสำคัญจ่ายค่าจ้าง" == | == เมนูย่อย "ใบสำคัญจ่ายค่าจ้าง" == | ||
เมนูย่อยนี้ใช้ในการบันทึกรายละเอียดการจ่ายค่าจ้างในแต่ละงวด เมื่อผู้ใช้สร้างเอกสารจ่ายค่าจ้างแล้ว ระบบจะดึงข้อมูลเอกสารไปบันทึกรายได้สะสมและภาษีหัก ณ ที่จ่ายสะสม พร้อมลงบันทึกบัญชีรายวันให้โดยอัตโนมัติ | |||
{{3stars}} ในเพจนี้ ระบบจะพยายามคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายในงวดการจ่ายค่าจ้างให้ โดยอาศัยข้อมูลเงินได้สะสมและภาษีหัก ณ ที่จ่ายสะสมของพนักงานแต่ละคน ดังนั้น ผู้ใช้ควรสั่ง "คำนวณข้อมูลใหม่"อีกครั้งก่อนกรอกข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ใช้คำนวณมีความถูกต้องแม่นยำ | |||
=== คำอธิบายช่องข้อมูล === | === คำอธิบายช่องข้อมูล === | ||
=== การนำเข้าข้อมูลการจ่ายค่าจ้างจากไฟล์กระดาษทำการ === | === การนำเข้าข้อมูลการจ่ายค่าจ้างจากไฟล์กระดาษทำการ === | ||
== การเก็บประวัติต่างๆ == | == การเก็บประวัติต่างๆ == | ||
== การประมาณเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อคำนวณภาษี == | == การประมาณเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อคำนวณภาษี == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:20, 15 พฤษภาคม 2566
ตารางรหัส
กลุ่มพนักงาน: EMPGRP
ตารางรหัสนี้บันทึกข้อมูลกลุ่มพนักงาน เช่น ข้อมูลการหัก ณ ที่จ่าย, การหักเงินสมทบต่างๆ และผังบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายค่าแรงพนักงานในแต่ละกลุ่ม
คำอธิบายช่องข้อมูล
StID | static ID ของกลุ่มพนักงาน |
รหัส | รหัสกลุ่มพนักงาน |
ชื่อ | ชื่อกลุ่มพนักงาน |
ผังบัญชี | |
---|---|
ค่าจ้าง | ผังบัญชีสำหรับบันทึกค่าจ้าง (Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
เบี้ยขยัน | ผังบัญชีสำหรับบันทึกเบี้ยขยัน (Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
เงินตำแหน่ง | ผังบัญชีสำหรับบันทึกเงินตำแหน่ง (Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
ค่าครองชีพ | ผังบัญชีสำหรับบันทึกค่าครองชีพ (Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
เบี้ยเลี้ยง | ผังบัญชีสำหรับบันทึกเบี้ยเลี้ยง (Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
ค่านายหน้า | ผังบัญชีสำหรับบันทึกค่านายหน้า (Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
ค่าล่วงเวลา | ผังบัญชีสำหรับบันทึกค่าล่วงเวลา (Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
สวัสดิการ | ผังบัญชีสำหรับบันทึกสวัสดิการ (Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
รางวัล/โบนัส | ผังบัญชีสำหรับบันทึกรางวัล/โบนัส (Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
เงินหัก | ผังบัญชีสำหรับบันทึกเงินหัก (Cr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
ประกันสังคม | ผังบัญชีสำหรับบันทึกเงินสมทบประกันสังคม (ฝั่งลูกจ้าง: Cr. หมวดหนี้สิน) |
กองทุนรวมฯ | ผังบัญชีสำหรับบันทึกเงินสมทบกองทุนรวมฯ (ฝั่งลูกจ้าง: Cr. หมวดหนี้สิน) |
ผังบัญชี (กองทุนต่างๆ: ฝั่งนายจ้าง) | |
ประกันสังคม | ผังบัญชีสำหรับบันทึกเงินสมทบประกันสังคม (ฝั่งลูกจ้าง: Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
กองทุนรวมฯ | ผังบัญชีสำหรับบันทึกเงินสมทบกองทุนรวมฯ (ฝั่งลูกจ้าง: Dr. หมวดค่าใช้จ่าย) |
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ค่าจ้างและผลประโยชน์อื่น) | |
คำอธิบาย | รหัสและคำอธิบายรายการหัก ณ ที่จ่ายสำหรับเงินได้ (ไม่รวมค่านายหน้า) |
ใช้อัตราก้าวหน้า | ใช้อัตราก้าวหน้าเพื่อคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย |
อัตรา | อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่ายตายตัว (ใช้ในกรณีไม่ใช้อัตราก้าวหน้า) |
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ค่านายหน้า) | |
คำอธิบาย | รหัสและคำอธิบายรายการหัก ณ ที่จ่ายสำหรับค่านายหน้า |
ใช้อัตราก้าวหน้า | คำนวณหัก ณ ที่จ่ายของค่านายหน้ารวมกับรายได้อื่น |
อัตรา | อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่ายค่านายหน้า (ใช้ในกรณีไม่คำนวณรวมกับรายได้อื่น) |
อัตราเงินสมทบต่างๆ | |
ประกันสังคม | ร้อยละของค่าจ้างที่หักจากเงินที่จ่ายพนักงานเพื่อสมทบกองทุนประกันสังคม |
สูงสุด (ประกันสังคม) | เงินสมทบกองทุนประกันสังคมสูงสุดต่องวด |
กองทุนสำรองฯ | ร้อยละของค่าจ้างที่หักจากเงินที่จ่ายพนักงานเพื่อสมทบกองทุนสำรองฯ |
สูงสุด (กองทุนสำรองฯ) | เงินสมทบกองทุนสำรองฯ สูงสุดต่องวด |
พนักงาน: EMPLOYEE
ตารางรหัสนี้ใช้บันทึกข้อมูลส่วนตัวของพนักงาน, ข้อมูลการว่าจ้าง, รวมไปถึงข้อมูลที่ใช้ในการลดหย่อนภาษีต่างๆ
คำอธิบายช่องข้อมูล
StID | static ID ของพนักงาน |
รหัส | รหัสพนักงาน |
ชื่อ | ชื่อ-สกุลพนักงาน |
ที่อยู่ | ที่อยู่พนักงาน |
รหัสไปรษณีย์ | รหัสไปรษณีย์ของที่อยู่พนักงาน |
รูป | รูปสินค้า |
วันเกิด | วันเกิดของพนักงาน |
โทรศัพท์ | โทรศัพท์ติดต่อพนักงาน |
โทรสาร | โทรสารติดต่อพนักงาน |
อีเมล | อีเมลติดต่อพนักงาน |
แท็บ "การว่าจ้าง" (หมายเลข 1) | |
---|---|
ตำแหน่งและสถานะการว่าจ้าง | |
ชนิดการว่าจ้าง | เลือกจาก 2 ตัวเลือก
|
กลุ่มพนักงาน | กลุ่มพนักงานที่มีพนักงานนี้รวมอยู่ |
แผนก | แผนกที่จ้างงาน หรือทำงาน |
ตำแหน่ง | ชื่อหรือคำอธิบายตำแหน่งพนักงาน |
วันที่เริ่มต้น | วันที่เริ่มต้นการว่าจ้าง |
สถานะ | เลือกจาก 2 ตัวเลือก
|
วันที่สิ้นสุด | วันที่สิ้นสุดการว่าจ้าง
*** ช่องนี้ปรากฏเมื่อ "สถานะ" เป็น "สิ้นสุดการว่าจ้าง" เท่านั้น |
เงินได้/ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่ายสะสมคำนวณเอง (เฉพาะในปี)
*** กรณีพนักงานเปลี่ยนมาทำงานที่บริษัทระหว่างปี ให้กรอกข้อมูลเงินได้สะสมในปีไว้ในส่วนนี้ เพื่อเป็นข้อมูลให้โปรแกรมใช้คำนวณภาษีเงินได้ | |
เงินได้ (ก่อนหักภาษี) | เงินได้สะสมก่อนหักภาษีตั้งแต่ต้นปีถึงสิ้นเดือนก่อนเดือนที่ระบุในช่อง "จนถึง" |
ภาษี | ภาษี หัก ณ ที่จ่ายสะสมตั้งแต่ต้นปีถึงสิ้นเดือนก่อนเดือนที่ระบุในช่อง "จนถึง" |
ประกันสังคม | เงินสมทบกองทุนประกันสังคมสะสม (ฝั่งลูกจ้าง) ตั้งแต่ต้นปีถึงสิ้นเดือนก่อนเดือนที่ระบุในช่อง "จนถึง" |
กองทุนสำรองฯ | เงินสมทบกองทุนสำรองฯ (ฝั่งลูกจ้าง) ตั้งแต่ต้นปีถึงสิ้นเดือนก่อนเดือนที่ระบุในช่อง "จนถึง" |
จนถึง (ไม่รวม) | เดือนที่ต้องการให้โปรแกรมเริ่มเก็บข้อมูลเงินได้และภาษีของพนักงาน
*** โปรแกรมจะถือเอาค่าสะสมที่กรอกในส่วนนี้ว่าเป็นค่าสะสมยกมาจากเดือนก่อน แล้วจะเริ่มเก็บข้อมูลเงินได้และภาษีของพนักงานจาก "ใบสำคัญจ่ายค่าจ้าง" ตั้งแต่เดือนนี้เป็นต้นไป |
ค่าจ้างและผลประโยชน์ | |
ชั่วโมงทำงาน | ชั่วโมงทำงานปกติของพนักงาน (หน่วย ชั่วโมงต่อวัน) |
วันที่ทำงาน | วันในสัปดาห์ที่พนักงานต้องมาทำงาน
*** กรณีวันทำงานไม่แน่นอน สามารถเลือกเพื่อให้มีจำนวนวันทำงานในสัปดาห์เท่ากับความเป็นจริงก็ได้ แต่อาจทำให้ค่าตั้งต้นของ "ใบสำคัญจ่ายค่าจ้าง" คลาดเคลื่อนไปบ้าง (กรณีเลือกจ่ายค่าจ้าง "ลูกจ้างรายชั่วโมง" หรือ "ลูกจ้างรายวัน" เป็นราย "เดือน") |
ระยะการจ่ายค่าจ้าง | เงื่อนไขค่าจ้างที่จะกำหนดในส่วนนี้ เลือกจาก
|
เงื่อนไขการหักภาษี | เลือกจาก 3 ตัวเลือก
|
ค่าจ้าง | ค่าจ้างรายชั่วโมง/รายวัน/รายเดือนของพนักงาน
*** ขึ้นกับค่าที่เลือกในช่อง "ระยะการจ่ายค่าจ้าง" |
เบี้ยขยัน | เบี้ยขยันรายชั่วโมง/รายวัน/รายเดือนของพนักงาน
*** ขึ้นกับค่าที่เลือกในช่อง "ระยะการจ่ายค่าจ้าง" |
เงินตำแหน่ง | เงินตำแหน่งรายชั่วโมง/รายวัน/รายเดือนของพนักงาน
*** ขึ้นกับค่าที่เลือกในช่อง "ระยะการจ่ายค่าจ้าง" |
ค่าครองชีพ | ค่าครองชีพรายชั่วโมง/รายวัน/รายเดือนของพนักงาน
*** ขึ้นกับค่าที่เลือกในช่อง "ระยะการจ่ายค่าจ้าง" |
แท็บ "การจ่ายค่าจ้างและการลดหย่อน #1" (หมายเลข 2) | |
บัญชีและเลขประจำตัว | |
เลขที่ผู้เสียภาษี | เลขประจำตัวผู้เสียภาษีของพนักงาน |
เลขประกันสังคม | เลขกองทุนประกันสังคมของพนักงาน |
เลขกองทุนสำรองฯ | เลขกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงาน |
ธนาคาร | รหัสและชื่อธนาคารเจ้าของบัญชีรับเงินเดือนของพนักงาน |
เลขบัญชีธนาคาร | เลขบัญชีรับเงินเดือนของพนักงาน |
ชื่อบัญชีธนาคาร | ชื่อบัญชีรับเงินเดือนของพนักงาน
*** โปรแกรมจะไม่ตรวจสอบค่าในช่องนี้ แต่ข้อจำกัดของข้อมูลในช่องนี้แตกต่างกับไปตามระบบของแต่ละธนาคาร โปรดตรวจสอบข้อจำกัดในระบบธนาคารที่บริษัทใช้งาน |
คู่สมรส | |
สถานะสมรส | เลือกจาก 4 ตัวเลือก
|
ลดหย่อนได้ | สามารถลดหย่อนภาษีกรณีคู่สมรสไม่มีเงินได้
*** ช่องนี้ปรากฏเมื่อ "สถานะสมรส" เป็น "สมรส" เท่านั้น |
ชื่อ | ชื่อ-สกุลของคู่สมรส |
เลขประจำตัวประชาชน | เลขประจำตัวประชาชนของคู่สมรส |
วันเกิด | วันเกิดของคู่สมรส |
เลขประจำตัวประชาชนบุตร | |
บุตรที่ลดหย่อนได้ | ใส่เลขประจำตัวประชาชนของบุตรที่ลดหย่อนภาษีได้ โดยคั่นแต่ละรายด้วยเครื่องหมาย ";" |
บุตรตั้งแต่คนที่ 2 เป็นต้นไปที่เกิดในหรือหลังปี 2019 | ใส่เลขประจำตัวประชาชนของบุตรที่ลดหย่อนภาษีได้ โดยคั่นแต่ละรายด้วยเครื่องหมาย ";" |
แท็บ "การลดหย่อน #2" (หมายเลข 3) | |
บุคคลในอุปการะ | |
บิดา | เลขประจำตัวประชาชนของบิดา |
เบี้ยประกัน (บิดา) | เบี้ยประกันที่ลดหย่อนได้ของบิดา |
ลดหย่อนได้ (บิดา) | สามารถลดหย่อนภาษีกรณีอุปการะบิดาได้ |
มารดา | เลขประจำตัวประชาชนของมารดา |
เบี้ยประกัน (มารดา) | เบี้ยประกันที่ลดหย่อนได้ของมารดา |
ลดหย่อนได้ (มารดา) | สามารถลดหย่อนภาษีกรณีอุปการะมารดาได้ |
บิดาคู่สมรส | เลขประจำตัวประชาชนของบิดาคู่สมรส |
เบี้ยประกัน (บิดาคู่สมรส) | เบี้ยประกันที่ลดหย่อนได้ของบิดาคู่สมรส |
ลดหย่อนได้ (บิดาคู่สมรส) | สามารถลดหย่อนภาษีกรณีอุปการะบิดาคู่สมรสได้ |
มารดาคู่สมรส | เลขประจำตัวประชาชนของมารดาคู่สมรส |
เบี้ยประกัน (มารดาคู่สมรส) | เบี้ยประกันที่ลดหย่อนได้ของมารดาคู่สมรส |
ลดหย่อนได้ (มารดาคู่สมรส) | สามารถลดหย่อนภาษีกรณีอุปการะมารดาคู่สมรสได้ |
คนทุพพลภาพ | ยอดเงินที่ลดหย่อนได้กรณีอุปการะบุคคลทุพพลภาพ |
เงินบริจาค | |
ลดหย่อนได้ 2 เท่า | ยอดเงินบริจาคที่สามารถลดหย่อนภาษีได้ 2 เท่า (ยังไม่ต้องคูณ 2) |
ลดหย่อนได้ | ยอดเงินบริจาคที่ลดหย่อนได้ส่วนที่เหลือ |
เบี้ยประกัน | |
ชีวิต | เบี้ยประกันชีวิตที่ใช้ลดหย่อนภาษีได้ |
สุขภาพ | เบี้ยประกันสุขภาพที่ใช้ลดหย่อนภาษีได้ |
บำนาญ | เบี้ยประกันแบบบำนาญที่ใช้ลดหย่อนภาษีได้ |
การลดหย่อนอื่นๆ | |
ดอกเบี้ยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย | ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารอยู่อาศัย |
แท็บ "การลดหย่อนเพิ่มเติม #1 และ #2" (หมายเลข 4-5) | |
เพิ่มเติม #1 – #24 | ยอดลดหย่อนในรายการเพิ่มเติมซึ่งอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได้ในแต่ละปี
*** คำอธิบายของช่องข้อมูลเหล่านี้ สามารถแก้ไขได้ที่เมนู ตารางรหัส/ตั้งค่า → การตั้งค่า → แท็บ "ค่าจ้าง" |
เลขที่เอกสารอัตโนมัติ
ซีรีส์เอกสารตั้งต้น
กลุ่มเอกสาร | ซีรีส์ | คำอธิบาย |
---|---|---|
ใบสำคัญจ่ายค่าจ้าง | PRL | ค่าจ้าง |
การตั้งค่าโมดูล
คำอธิบายช่องข้อมูล
ผังบัญชีตั้งต้น | |
---|---|
ค่าจ้าง | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
เบี้ยขยัน | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
เงินตำแหน่ง | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
ค่าครองชีพ | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
เบี้ยเลี้ยง | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
ค่านายหน้า | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
ค่าล่วงเวลา | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
สวัสดิการ | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
รางวัล/โบนัส | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
เงินหัก | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
ประกันสังคม | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
กองทุนประกันสังคม (นายจ้าง) | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
กองทุนสำรองฯ (นายจ้าง) | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
การจ่ายค่าจ้าง | ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่ม ใบสำคัญการจ่ายค่าจ้าง |
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
*** ระบุอัตราเพื่อใช้คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา | |
การตั้งค่าภาษีหัก ณ ที่จ่ายตั้งต้น | |
ค่าจ้าง & เงินเพิ่มต่างๆ | คำอธิบายภาษีหัก ณ ที่จ่ายสำหรับค่าจ้างและเงินเพิ่มต่างๆ
ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
อัตรา (ค่าจ้าง) | อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่ายสำหรับค่าจ้างและเงินเพิ่มต่างๆ
ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
ค่านายหน้า | คำอธิบายภาษีหัก ณ ที่จ่ายสำหรับค่านายหน้า
ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
อัตรา (ค่านายหน้า) | อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่ายสำหรับค่านายหน้า
ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
แบบภาษี | แบบภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่ใช้รายงานภาษีหัก ณ ที่จ่ายสำหรับค่าจ้างและค่านายหน้า |
การตั้งค่าอื่นๆ | |
อัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคมตั้งต้น | อัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม
ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
อัตราเงินสมทบกองทุนสำรองฯ ตั้งต้น | อัตราเงินสมทบกองทุนสำรองฯ ตั้งต้น
ใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเพิ่มกลุ่มพนักงานใหม่ |
คำอธิบายรายการลดหย่อน | |
เพิ่มเติม #1 – #24 | คำอธิบายรายการลดหย่อนภาษีเพิ่มเติม
*** คำอธิบายรายการเหล่านี้จะแสดงในช่องข้อมูลลดหย่อนในตารางรหัส "พนักงาน" |
การตั้งค่าการบันทึกสมุดรายวัน
สมุดบัญชีของโมดูล
สมุดบัญชีที่โมดูลนี้จะสร้างขึ้นเมื่อเปิดใช้งานมีตามตารางต่อไปนี้
ใส่หัวตาราง | ใส่หัวตาราง | ใส่หัวตาราง | ใส่หัวตาราง |
---|---|---|---|
ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง |
ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง |
ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง |
การลงบัญชีรายวัน
โมดูลค่าจ้างมีฟังก์ชันบันทึกบัญชีอัตโนมัติสำหรับ 1 กิจกรรม แต่ละกิจกรรมมีการตั้งค่าเริ่มต้นดังต่อไปนี้
ใบสำคัญจ่ายค่าจ้าง
ใส่หัวตาราง | ใส่หัวตาราง | ใส่หัวตาราง | ใส่หัวตาราง | ใส่หัวตาราง |
---|---|---|---|---|
ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง |
ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง |
ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง | ตัวอย่าง |
แก้ไขสิทธิ์ผู้ใช้
คำอธิบายช่องข้อมูล
ตารางรหัส | |
---|---|
พนักงาน | มีค่าได้ตั้งแต่ 0 – 5 |
กลุ่มพนักงาน | มีค่าได้ตั้งแต่ 0 – 5 |
เอกสาร | |
ใบสำคัญจ่ายค่าจ้าง | มีค่าได้ตั้งแต่ 0 – 4 |
อื่นๆ | |
เรียกรายงาน | มีค่าได้ตั้งแต่ 0 – 4 |
แก้ไขรายงาน | มีค่าได้ตั้งแต่ 0 – 4 |
เลขที่เอกสาร | มีค่าได้ตั้งแต่ 0 – 4 |
*** สามารถดูความหมายของค่าสิทธิ์ได้ที่หัวข้อ เมนู "ระบบ" → "แก้ไขสิทธิ์ผู้ใช้"
เมนูย่อย "ใบสำคัญจ่ายค่าจ้าง"
เมนูย่อยนี้ใช้ในการบันทึกรายละเอียดการจ่ายค่าจ้างในแต่ละงวด เมื่อผู้ใช้สร้างเอกสารจ่ายค่าจ้างแล้ว ระบบจะดึงข้อมูลเอกสารไปบันทึกรายได้สะสมและภาษีหัก ณ ที่จ่ายสะสม พร้อมลงบันทึกบัญชีรายวันให้โดยอัตโนมัติ *** ในเพจนี้ ระบบจะพยายามคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายในงวดการจ่ายค่าจ้างให้ โดยอาศัยข้อมูลเงินได้สะสมและภาษีหัก ณ ที่จ่ายสะสมของพนักงานแต่ละคน ดังนั้น ผู้ใช้ควรสั่ง "คำนวณข้อมูลใหม่"อีกครั้งก่อนกรอกข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ใช้คำนวณมีความถูกต้องแม่นยำ