ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้อมูลพื้นฐานของระบบคูนิฟ็อกซ์"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
|||
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 76: | บรรทัดที่ 76: | ||
== โครงสร้างข้อมูล == | == โครงสร้างข้อมูล == | ||
ระบบคูนิฟ็อกซ์มีโครงสร้างการเก็บข้อมูลดังนี้ | |||
[[ไฟล์:CuneiFox filesystem.png|500px|thumb|center|alt=โครงสร้างไฟล์ข้อมูลของแต่ละบริษัทในระบบคูนิฟ็อกซ์|โครงสร้างไฟล์ข้อมูลของแต่ละบริษัทในระบบคูนิฟ็อกซ์]] | [[ไฟล์:CuneiFox filesystem.png|500px|thumb|center|alt=โครงสร้างไฟล์ข้อมูลของแต่ละบริษัทในระบบคูนิฟ็อกซ์|โครงสร้างไฟล์ข้อมูลของแต่ละบริษัทในระบบคูนิฟ็อกซ์]] | ||
== ตารางรหัส, Static ID, และแท็ก == | == ตารางรหัส, Static ID, และแท็ก == | ||
=== ตารางรหัสและ Static ID === | === ตารางรหัสและ Static ID === | ||
ตารางรหัสของระบบคูนิฟ็อกซ์ใช้ static ID (เลขประจำรายการคงที่) ในการอ้างอิงรายการในตารางรหัสทุกตาราง โดยผู้ใช้สามารถกำหนดค่า static ID ได้เองเมื่อเพิ่มรายการ แต่จะไม่สามารถแก้ไขค่านี้ในภายหลังได้ | |||
==== ข้อดีของการใช้ static ID ==== | ==== ข้อดีของการใช้ static ID ==== | ||
* สามารถเปลี่ยนแปลงรหัสต่างๆ ได้ | * สามารถเปลี่ยนแปลงรหัสต่างๆ ได้ ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการจัดระเบียบรหัสอ้างอิงใหม่ จึงมีความยืดหยุ่นมากกว่าระบบที่ใช้รหัสในการอ้างอิงโดยตรง | ||
* ในกรณีที่แต่ละสาขา/บริษัทในเครือไม่ได้ใช้ตารางร่วมกัน แต่ละหน่วยงานยังสามารถใช้รหัสรายการแตกต่างกันตามความสะดวกได้ เพียงแค่ตั้ง | * ในกรณีที่แต่ละสาขา/บริษัทในเครือไม่ได้ใช้ตารางร่วมกัน แต่ละหน่วยงานยังสามารถใช้รหัสรายการแตกต่างกันตามความสะดวกได้ เพียงแค่ตั้ง static ID ของวัตถุเดียวกันให้มีค่าตรงกัน ต่างจากระบบที่อ้างอิงด้วยเลขประจำรายการที่ระบบจ่ายให้โดยอัตโนมัติ (id หรือ row_id) | ||
==== ข้อควรระวังในการใช้ static ID ==== | ==== ข้อควรระวังในการใช้ static ID ==== | ||
การเปลี่ยนแปลงรหัสรายการใช้เพื่อจัดระเบียบรายการใหม่เท่านั้น โดย static ID ยังต้องอ้างอิงถึงวัตถุเดิม ไม่ควรเปลี่ยนรหัสจนทำให้ static ID ที่เคยอ้างอิงวัตถุหนึ่งอยู่ ไปอ้างอิงถึงอีกวัตถุหนึ่ง | * การเปลี่ยนแปลงรหัสรายการใช้เพื่อจัดระเบียบรายการใหม่เท่านั้น โดย static ID ยังต้องอ้างอิงถึงวัตถุเดิม ไม่ควรเปลี่ยนรหัสจนทำให้ static ID ที่เคยอ้างอิงวัตถุหนึ่งอยู่ ไปอ้างอิงถึงอีกวัตถุหนึ่ง ดังตัวอย่างต่อไปนี้ | ||
{| class="wikitable" style="width:85%" | {| class="wikitable" style="width:85%" | ||
|+ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงรหัสสินค้าที่ถูกต้อง (ในที่นี้เพื่อจัดระเบียบความยาวรหัสใหม่ให้เท่ากัน) | |+ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงรหัสสินค้าที่ถูกต้อง (ในที่นี้เพื่อจัดระเบียบความยาวรหัสใหม่ให้เท่ากัน) | ||
บรรทัดที่ 109: | บรรทัดที่ 110: | ||
=== แท็กรายการ === | === แท็กรายการ === | ||
สำหรับตารางรหัส'''ผู้ขาย/เจ้าหนี้''', '''ลูกค้า/ลูกหนี้''', และ'''สินค้า''' ระบบคูนิฟ็อกซ์มีฟังก์ชันแท็กรายการ (hashtag) เพื่อความสะดวกในการจัดกลุ่ม โดยมีข้อดีดังนี้ | |||
* ทำให้รายการหนึ่งสามารถจัดอยู่ในหลายกลุ่มได้พร้อมๆ กัน | |||
* ผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลแท็กที่ต้องการลงในช่องข้อมูล "แท็ก" ของรายการนั้นได้ทันที โดยไม่ต้องเพิ่มกลุ่มที่จะใช้ในอีกฐานข้อมูลหนึ่งก่อน | |||
==== การใช้งานแท็กรายการ ==== | |||
ในที่นี้จะใช้แท็กรายการในตารางรหัสสินค้ามาแสดงเป็นตัวอย่าง โดยกำหนดค่าดังนี้ | |||
* สินค้ารหัส TV0-0001 เป็นโทรทัศน์ | * สินค้ารหัส TV0-0001 เป็นโทรทัศน์ อาจกรอกข้อมูลแท็กเป็น: {{mono|#โทรทัศน์#ของใช้ในบ้าน#เครื่องใช้ไฟฟ้า#บันเทิง#SONY#OLED}} | ||
* สินค้ารหัส PEN-0001 เป็นปากกา | * สินค้ารหัส PEN-0001 เป็นปากกา อาจกรอกข้อมูลแท็กเป็น: {{mono|#เครื่องเขียน#ของใช้ในบ้าน#เครื่องใช้สำนักงาน#ลูกลื่น#PARKER}} | ||
ในรายงานที่มีสินค้าเป็นส่วนหนึ่งของขอบเขตข้อมูล ผู้ใช้สามารถเลือกใช้แท็กเพื่อระบุสินค้าที่ต้องการได้ โดยสามารถระบุเงื่อนไขของแท็กเป็น | |||
* '''{{mono|AND}}''': | * '''{{mono|AND}}''': เพื่อให้ระบบเลือกเฉพาะสินค้าที่มีครบทุกแท็กที่เลือก เช่น ถ้าเรียกรายงานของสินค้าด้วยแท็ก '''{{mono|AND}}''' {{mono|#ของใช้ในบ้าน#เครื่องใช้ไฟฟ้า}} ระบบจะพบสินค้า TV0-0001 แต่ไม่พบสินค้า PEN-0001 (เพราะสินค้านี้ไม่มีแท็ก {{mono|#เครื่องใช้ไฟฟ้า}}) | ||
* '''{{mono|OR}}''': | * '''{{mono|OR}}''': เพื่อให้ระบบเลือกสินค้าที่มีแท็กใดแท็กหนึ่งที่เลือก เช่น ถ้าเรียกรายงานของสินค้า ด้วยแท็ก '''{{mono|OR}}''' {{mono|#ของใช้ในบ้าน#เครื่องใช้ไฟฟ้า}} ระบบจะพบสินค้าทั้ง TV0-0001 (มีครบทั้ง 2 แท็ก) และ PEN-0001 (พบแท็ก {{mono|#ของใช้ในบ้าน}}) | ||
== พฤติกรรมในการแก้ไขเอกสาร == | == พฤติกรรมในการแก้ไขเอกสาร == | ||
[[ไฟล์:Editting marker.png| | [[ไฟล์:Editting marker.png|720px|thumb|center|alt=ตำแหน่งข้อความเตือนเอกสารกำลังถูกแก้ไข|ตำแหน่งข้อความเตือนเอกสารกำลังถูกแก้ไข]] | ||
เพื่อป้องกันการเข้าแก้ไขเอกสารซ้ำซ้อนกัน เมื่อผู้ใช้คนแรกกดปุ่มแก้ไขเอกสาร ระบบคูนิฟ็อกซ์จะปิดเอกสารนั้นไม่ให้ผู้ใช้อื่นเข้าแก้ไข และจะแสดงสถานะ '''{{mono|EDIT}}''' (เมื่อนำเคอร์เซอร์ชี้ค้างเอาไว้ จะแสดงชื่อผู้ใช้ที่กำลังแก้ไขเอกสารอยู่) | |||
การปิดกั้นเอกสารในลักษณะนี้จะถูกปลดก็ต่อเมื่อ | การปิดกั้นเอกสารในลักษณะนี้จะถูกปลดก็ต่อเมื่อ | ||
* ผู้ใช้เสร็จสิ้นการแก้ไขเอกสาร (โปรแกรมได้ออกจากโหมดการแก้ไขเอกสารในฝั่งผู้ใช้) | * ผู้ใช้เสร็จสิ้นการแก้ไขเอกสาร (โปรแกรมได้ออกจากโหมดการแก้ไขเอกสารในฝั่งผู้ใช้) | ||
* | * โปรแกรมฝั่งผู้ใช้หยุดการทำงานโดยไม่คาดคิด เช่น ไฟฟ้าดับ, เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกปิด/รีสตาร์ต เป็นต้น | ||
{{คู่มือการใช้โปรแกรมคูนิฟ็อกซ์}} | {{คู่มือการใช้โปรแกรมคูนิฟ็อกซ์}} |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:05, 15 พฤษภาคม 2566
ในบทความนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดที่จำเป็นในการติดตั้งและการใช้งาน รวมไปถึงข้อมูลทางจำเพาะทางเทคนิคบางส่วน เพื่อให้ผู้ใช้ได้เข้าใจถึงความสามารถ และข้อควรระวังในการใช้ระบบคูนิฟ็อกซ์
ความต้องการของระบบ
เครื่องเซิร์ฟเวอร์
เครื่องเซิร์ฟเวอร์ (server) เป็นเครื่องที่ติดตั้งโปรแกรมและเก็บข้อมูลทั้งหมด มีความต้องการขั้นต่ำดังนี้
- หน่วยเก็บข้อมูล solid-state drive
หัวข้อการใช้งาน | ขนาดขั้นต่ำ |
---|---|
ติดตั้งระบบและโปรแกรม | 10 GB |
ตารางรหัส (ไม่รวมไฟล์แนบหรือภาพ) | 10 – 20 MB |
ข้อมูลแต่ละเดือน (ไม่รวมไฟล์แนบหรือภาพ) | 5 – 20 MB / เดือน |
- ระบบปฏิบัติการ: Ubuntu Linux 18.04 ขึ้นไป (หรือระบบอื่นที่สามารถติดตั้งซอฟต์แวร์ตามรายการต่อไปนี้)
รายการ | เวอร์ชันขั้นต่ำ |
---|---|
python3 | 3.8 |
pdftk | 2.02 |
sqlite3 | 3.24 |
inkscape | 1.0 |
เครื่องลูกข่าย
เครื่องลูกข่าย (client) หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่นๆ ที่ผู้ใช้ใช้เข้าถึงและทำงานกับระบบคูนิฟ็อกซ์ มีความต้องการขั้นต่ำดังนี้
การใช้งาน | ซอฟต์แวร์ |
---|---|
การใช้งานทั่วไป (จำเป็น) | โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
|
กรณีต้องการใช้งานไฟล์ PDF ภายนอกเว็บเบราว์เซอร์ | โปรแกรมอ่านไฟล์ PDF เช่น
|
กรณีต้องการทำงานกับไฟล์กระดาษทำการ (spreadsheet) ที่ส่งออกมาจากโปรแกรม | โปรแกรมกระดาษทำการที่สามารถอ่าน/แก้ไขไฟล์สกุล XLSX ได้ เช่น
|
กรณีต้องการแก้ไขไฟล์รูปแบบการพิมพ์ |
โปรแกรมเวกเตอร์กราฟิก (vector graphic) เช่น
|
กรณีต้องการทำงานกับไฟล์สกุล ZIP (ไฟล์รวม เมื่อโปรแกรมส่งออกไฟล์มากกว่า 1 ไฟล์พร้อมกัน) |
โปรแกรมที่สามารถเปิดไฟล์ ZIP ได้ เช่น
|
กรณีต้องการทำงานกับไฟล์ฐานข้อมูลในชุดข้อมูลสำรอง |
|
โครงสร้างข้อมูล
ระบบคูนิฟ็อกซ์มีโครงสร้างการเก็บข้อมูลดังนี้
ตารางรหัส, Static ID, และแท็ก
ตารางรหัสและ Static ID
ตารางรหัสของระบบคูนิฟ็อกซ์ใช้ static ID (เลขประจำรายการคงที่) ในการอ้างอิงรายการในตารางรหัสทุกตาราง โดยผู้ใช้สามารถกำหนดค่า static ID ได้เองเมื่อเพิ่มรายการ แต่จะไม่สามารถแก้ไขค่านี้ในภายหลังได้
ข้อดีของการใช้ static ID
- สามารถเปลี่ยนแปลงรหัสต่างๆ ได้ ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการจัดระเบียบรหัสอ้างอิงใหม่ จึงมีความยืดหยุ่นมากกว่าระบบที่ใช้รหัสในการอ้างอิงโดยตรง
- ในกรณีที่แต่ละสาขา/บริษัทในเครือไม่ได้ใช้ตารางร่วมกัน แต่ละหน่วยงานยังสามารถใช้รหัสรายการแตกต่างกันตามความสะดวกได้ เพียงแค่ตั้ง static ID ของวัตถุเดียวกันให้มีค่าตรงกัน ต่างจากระบบที่อ้างอิงด้วยเลขประจำรายการที่ระบบจ่ายให้โดยอัตโนมัติ (id หรือ row_id)
ข้อควรระวังในการใช้ static ID
- การเปลี่ยนแปลงรหัสรายการใช้เพื่อจัดระเบียบรายการใหม่เท่านั้น โดย static ID ยังต้องอ้างอิงถึงวัตถุเดิม ไม่ควรเปลี่ยนรหัสจนทำให้ static ID ที่เคยอ้างอิงวัตถุหนึ่งอยู่ ไปอ้างอิงถึงอีกวัตถุหนึ่ง ดังตัวอย่างต่อไปนี้
Static ID | รหัสสินค้าเดิม | รหัสสินค้าใหม่ |
---|---|---|
1 | PEN-0001 | PEN-0001 |
2 | PENCIL001 | PCL-0001 |
3 | TV1 | TV0-0001 |
Static ID | รหัสสินค้าเดิม | รหัสสินค้าใหม่ |
---|---|---|
1 | PEN-0001 | PEN-0001 |
2 | PENCIL001 | TV0-0001 |
3 | TV1 | PCL-0001 |
แท็กรายการ
สำหรับตารางรหัสผู้ขาย/เจ้าหนี้, ลูกค้า/ลูกหนี้, และสินค้า ระบบคูนิฟ็อกซ์มีฟังก์ชันแท็กรายการ (hashtag) เพื่อความสะดวกในการจัดกลุ่ม โดยมีข้อดีดังนี้
- ทำให้รายการหนึ่งสามารถจัดอยู่ในหลายกลุ่มได้พร้อมๆ กัน
- ผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลแท็กที่ต้องการลงในช่องข้อมูล "แท็ก" ของรายการนั้นได้ทันที โดยไม่ต้องเพิ่มกลุ่มที่จะใช้ในอีกฐานข้อมูลหนึ่งก่อน
การใช้งานแท็กรายการ
ในที่นี้จะใช้แท็กรายการในตารางรหัสสินค้ามาแสดงเป็นตัวอย่าง โดยกำหนดค่าดังนี้
- สินค้ารหัส TV0-0001 เป็นโทรทัศน์ อาจกรอกข้อมูลแท็กเป็น: #โทรทัศน์#ของใช้ในบ้าน#เครื่องใช้ไฟฟ้า#บันเทิง#SONY#OLED
- สินค้ารหัส PEN-0001 เป็นปากกา อาจกรอกข้อมูลแท็กเป็น: #เครื่องเขียน#ของใช้ในบ้าน#เครื่องใช้สำนักงาน#ลูกลื่น#PARKER
ในรายงานที่มีสินค้าเป็นส่วนหนึ่งของขอบเขตข้อมูล ผู้ใช้สามารถเลือกใช้แท็กเพื่อระบุสินค้าที่ต้องการได้ โดยสามารถระบุเงื่อนไขของแท็กเป็น
- AND: เพื่อให้ระบบเลือกเฉพาะสินค้าที่มีครบทุกแท็กที่เลือก เช่น ถ้าเรียกรายงานของสินค้าด้วยแท็ก AND #ของใช้ในบ้าน#เครื่องใช้ไฟฟ้า ระบบจะพบสินค้า TV0-0001 แต่ไม่พบสินค้า PEN-0001 (เพราะสินค้านี้ไม่มีแท็ก #เครื่องใช้ไฟฟ้า)
- OR: เพื่อให้ระบบเลือกสินค้าที่มีแท็กใดแท็กหนึ่งที่เลือก เช่น ถ้าเรียกรายงานของสินค้า ด้วยแท็ก OR #ของใช้ในบ้าน#เครื่องใช้ไฟฟ้า ระบบจะพบสินค้าทั้ง TV0-0001 (มีครบทั้ง 2 แท็ก) และ PEN-0001 (พบแท็ก #ของใช้ในบ้าน)
พฤติกรรมในการแก้ไขเอกสาร
เพื่อป้องกันการเข้าแก้ไขเอกสารซ้ำซ้อนกัน เมื่อผู้ใช้คนแรกกดปุ่มแก้ไขเอกสาร ระบบคูนิฟ็อกซ์จะปิดเอกสารนั้นไม่ให้ผู้ใช้อื่นเข้าแก้ไข และจะแสดงสถานะ EDIT (เมื่อนำเคอร์เซอร์ชี้ค้างเอาไว้ จะแสดงชื่อผู้ใช้ที่กำลังแก้ไขเอกสารอยู่)
การปิดกั้นเอกสารในลักษณะนี้จะถูกปลดก็ต่อเมื่อ
- ผู้ใช้เสร็จสิ้นการแก้ไขเอกสาร (โปรแกรมได้ออกจากโหมดการแก้ไขเอกสารในฝั่งผู้ใช้)
- โปรแกรมฝั่งผู้ใช้หยุดการทำงานโดยไม่คาดคิด เช่น ไฟฟ้าดับ, เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกปิด/รีสตาร์ต เป็นต้น